รวมค่าเทอม มหาวิทยาลัยของรัฐ ทั่วประเทศ

มหาวิทยาลัยรัฐบาลเป็นตัวเลือกแรก ๆ ของเด็กที่มุ่งหวังจะสอบเข้าให้ได้ ด้วยเพราะมาตรฐานหลาย ๆ อย่าง และค่าเทอม ที่อาจจะไม่ได้สูงมากนัก มาดูกันเลยว่าแต่ละมหาวิทยาลัย มีค่าเทอมเท่าไหร่บ้าง รวมมาให้ดูทุกมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ แบ่งกลุ่มมาให้เพื่อความสะดวกในการเลือกดูได้ง่าย ๆ ตามมหาวิทยาลัยที่สนใจ มหาวิทยาลัยในกรุงเทพและปริมณฑล, ภาคกลาง, ภาคเหนือ, ภาคอีสาน, ภาคใต้, กลุ่มเทคโนโลยีราชมงคล และกลุ่มราชภัฏ 
 

กรุงเทพและปริมณฑล

ขอบคุณภาพจาก http://www.chula.ac.th


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เริ่มต้น 17,000 – 21,000
>>Click

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

เริ่มต้น 13,000 – 52,000
>>Click

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

– วิทยาเขตบางเขน เริ่มต้น 12,900 – 17,300
>>Click
– วิทยาเขตศรีราชา เริ่มต้น 16,500 – 35,000 ภาคปกติ / เริ่มต้น 22,000 – 35,900 ภาคพิเศษ
>>Click
– วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร เริ่มต้น 23,200 – 30,000 ภาคปกติ / เริ่มต้น 39,600 – 58,000 ภาคพิเศษ
>>Click

มหาวิทยาลัยมหิดล
เริ่มต้น 2,000 – 8,000 *ชั้นปีที่ 1 
>>Click

มหาวิทยาลัยศิลปากร
เริ่มต้น 15,000 – 23,000
>>Click

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
เริ่มต้น 15,000 – 40,000
>>Click

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เริ่มต้น 2,400 / 1 ชุดวิชา
>>Click
 

มหาวิทยาลัยรามคำแหง
เริ่มต้น 25 / 1 หน่วยกิต (แรกเข้าค่าใช้จ่ายประมาณ 3,500 บาท)
>>Click

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เริ่มต้น 12,000 – 42,000
>>Click

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เริ่มต้น 14,000 – 28,000
>>Click

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
เริ่มต้น 14,000 – 25,000
>>Click

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
เริ่มต้น 12,025 – 25,400
>>Click

ภาคกลาง

ขอบคุณภาพจาก http://www.wikipedia.org โดย Nantawat.top 

มหาวิทยาลัยบูรพา
เริ่มต้น 44,470 ภาคปกติ / เริ่มต้น 64,000 ภาคพิเศษ *ค่าเล่าเรียน/ตลอดหลักสูตร 
>>Click


ภาคเหนือ

ขอบคุณภาพจาก Facebook มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง MFU

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

เริ่มต้น 20,000 – 36,000
>>Click

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เริ่มต้น 15,000 – 35,000 ภาคปกติ / เริ่มต้น 22,000 – 35,000 ภาคพิเศษ
>>Click

มหาวิทยาลัยนเรศวร

เริ่มต้น 15,000 – 22,000
>>Click

มหาวิทยาลัยพะเยา
เริ่มต้น 12,000 – 70,000
>>Click

มหาวิทยาลัยแม่โจ้
เริ่มต้น 15,200 – 20,200
>>Click
 

ภาคอีสาน

ขอบคุณภาพจาก http://www.wikipedia.org โดย Oatz


มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
เริ่มต้น 12,000 – 45,000
>>Click

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

เริ่มต้น 10,000 – 18,000
>>Click

มหาวิทยาลัยนครพนม
เริ่มต้น 7,000 – 9,500
>>Click *หน้า 6 – 7 

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
เริ่มต้น 2,000 – 10,000 ภาคปกติ / เริ่มต้น 2,000 – 25,000 ภาคพิเศษ
>>Click

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เริ่มต้น 186,700 – 2,290,700 *ค่าเล่าเรียน/ตลอดหลักสูตร (เริ่มต้น-สูงสุด)
>>Click
 

ภาคใต้

ขอบคุณภาพจาก http://www.photoxcite.com GALLERY ของชาว มอ. โดย NP


มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
– วิทยาเขตหาดใหญ่ , ภูเก็ต , สุราษฎร์ธานี , ตรัง เริ่มต้น 16,000 – 46,000
>>Click
– วิทยาเขตปัตตานี เริ่มต้น 18,000 – 24,000
>>Click

มหาวิทยาลัยทักษิณ
เริ่มต้น 10,000 – 15,000
>>Click

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
เริ่มต้น 10,000 – 30,000
>>Click
 

กลุ่มเทคโนโลยีราชมงคล

ขอบคุณภาพจาก http://www..rmutt.ac.th


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
เริ่มต้น 12,000 – 16,000 วุฒิ ม. 6 / ปวช. / ปวส. ภาคปกติ
เริ่มต้น 18,000 – 24,000 วุฒิ ม. 6 / ปวช. ภาคพิเศษ
เริ่มต้น 24,000 วุฒิ ปวส. ภาคพิเศษ
>>Click

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
เริ่มต้น 9,700 – 11,900 ภาคปกติ / เริ่มต้น 18,700 – 20,900 ภาคสมทบ
>>Click

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก 
– วิทยาเขตบางพระ เริ่มต้น 17,100 – 41,800 ภาคปกติ / เริ่มต้น 19,600 ภาคสมบบ
>>Click
– วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ เริ่มต้น 13,300 – 17,300 ภาคปกติ / เริ่มต้น 22,100 – 24,100 ภาคสมทบ
>>Click
– วิทยาเขตจันทบุรี เริ่มต้น 13,300 – 15,800 ภาคปกติ / เริ่มต้น 22,100 – 24,100 ภาคสมทบ
>>Click
– วิทยาเขตอุเทนถวาย เริ่มต้น 13,300 – 17,300 ภาคปกติ / เริ่มต้น 33,100 ภาคสมทบ
>>Click

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (กรุงเทพและปริมณฑล)
เริ่มต้น 5,000 – 6,000 ภาคปกติ 
>>Click
เริ่มต้น 14,500 – 17,500 ภาคสมทบ
>>Click

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 

เริ่มต้น 7,000 – 15,000 วุฒิ ม. 6 / ปวช. ภาคปกติ
เริ่มต้น 7,000 – 9,000 วุฒิ ปวส. ภาคปกติ
เริ่มต้น 15,000 วุฒิ ม. 6 / ปวช. ภาคพิเศษ
เริ่มต้น 15,000 – 22,000 วุฒิ ปวส. ภาคพิเศษ
>>Click

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ 
เริ่มต้น 7,700 – 10,200 ภาคปกติ
>>Click
เริ่มต้น 14,000 – 19,500 ภาคสมทบ
>>Click

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 
เริ่มต้น 4,500 – 7,000 ภาคปกติ,ภาคพิเศษ / เริ่มต้น 17,000 – 36,600 ภาคสมทบ
>>Click

กลุ่มราชภัฏ

ขอบคุณภาพจาก http://www.ssru.ac.th


มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
เริ่มต้น 4,000 – 15,000 : ลงทะเบียนไม่เกิน 10 หน่วยกิต / เริ่มต้น 8,000 – 30,000 : ลงทะเบียนเกิน 10 หน่วยกิต
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
เริ่มต้น 11,000 – 18,000 ภาคปกติ 
>>Click
เริ่มต้น 13,000 – 14,000 ภาค กศ.พบ. (เสาร์ – อาทิตย์)
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
เริ่มต้น 12,500 – 25,700 ภาคปกติ 
>>Click
เริ่มต้น 11,500 – 14,600 ภาคพิเศษ
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
เริ่มต้น 13,500 – 17,700
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
เริ่มต้น 9,900 – 12,000
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
เริ่มต้น 12,000 – 14,000
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยลงกรณ์
เริ่มต้น 3,000 – 15,000
>>Click *หน้า 81 – 82 

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
เริ่มต้น 8,500 – 47,700
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
เริ่มต้น 8,500 – 10,000 ภาคปกติ / เริ่มต้น 9,500 – 11,000 ภาคพิเศษ
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
เริ่มต้น 11,150 – 19,150
>>Click *หน้า 12 – 14 

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
เริ่มต้น 10,000 – 50,000
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัพระนครศรีอยุธยา
เริ่มต้น 7,000 – 9,400
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
เริ่มต้น 5,000 – 7,000 วุฒิ ม. 6 หรือ เทียบเท่า
เริ่มต้น 5,500 – 8,000 วุฒิ อนุปริญญา หรือ เทียบเท่า
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
เริ่มต้น 7,500 – 12,000
>>Click *หน้า 4

มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
เริ่มต้น 11,180 – 16,130
>>Click *หน้า 1

มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
เริ่มต้น 8,500 – 35,000
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
เริ่มต้น 7,500 – 9,000 ภาคปกติ
>>Click
เริ่มต้น 6,200 – 7,700 ภาคพิเศษ : ศูนย์การศึกษาเลย
เริ่มต้น 7,100 – 8,700 ภาคพิเศษ : ศูนย์การศึกษาขอนแก่น
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
เริ่มต้น 7,000 – 12,000 ภาคปกติ / เริ่มต้น 8,000 – 13,000 ภาค กศ.ปช
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
เริ่มต้น 7,300 – 10,000
>>Click *หน้า 2 – 4 

มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
เริ่มต้น 8,000 – 8,500 ภาคปกติ 
>>Click
เริ่มต้น 9,500 – 11,400 ภาค กศ.บป. (เสาร์ – อาทิตย์)
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
เริ่มต้น 7,500 – 8,000
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
เริ่มต้น 7,000 – 8,000 ภาคปกติ / เริ่มต้น 8,000 – 9,000 ภาคพิเศษ
>>Click

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
เริ่มต้น 5,800 – 40,600 ภาคปกติ เรียนวันจันทร์ – ศุกร์ 
>>Click
เริ่มต้น 8,200 – 9,800 ภาคปกติ เรียนวันเสาร์ – อาทิตย์
>>Click 

ค่าเทอม 9 มหาวิทยาลัยเอกชนชื่อดัง

ช่วงนี้เรียกได้ว่า เป็นช่วงของการสอบเข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยกันเลยทีเดียว ทั้งรับตรง แอดมิชชัน ฯลฯ ซึ่งสำหรับน้องๆ คนไหนที่ต้องการเรียนในมหาวิทยาลัยรัฐก็ต้องเร่งทำคะแนนแข่งขันกันหน่อยในการสอบเข้าเรียนต่อ แต่สำหรับน้องๆ คนไหนที่พลาดโอกาสสอบไม่ติดในมหาวิทยาลัยของรัฐหรือต้องการที่จะเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลันเอกชนอยู่แล้วนั้น เช็คกันหรือยัง? ว่าในแต่ละมหาวิทยาลัยนั้น เขามีค่าเทอมกันเท่าไหร่บ้าง? ซึ่งในวันนี้ แคมปัส-สตาร์ ก็ได้รวบรวม 9 มหาวิทยาลัยเอกชน น่าเรียน มีการเรียนการสอนที่ไม่แพ้สถาบันไหนมาฝากกันด้วย งั้นลองมาดูค่าเทอมกันก่อนตัดสินใจเรียนต่อกันได้เลย

ค่าเทอม 9 มหาวิทยาลัยเอกชนชื่อดัง

1. มหาวิทยาลัยรังสิต

มหาวิทยาลัยรังสิต
มหาวิทยาลัยรังสิต

น้องๆ สามารถเข้าไปดูรายละเอียดค่าเทอมของแต่ละคณะ/สาขาวิชาทั้งหมดได้ที่ : www2.rsu.ac.th

2. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ผู้จบ ม. 6/ปวช./กศน.

ภาคปกติ

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ภาคบ่าย

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ภาคพิเศษ

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ผู้เทียบโอน ปวส.

ภาคปกติ

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ภาคพิเศษ

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

น้องๆ สามารถเข้าไปดูรายละเอียดค่าเทอมของแต่ละคณะ/สาขาวิชาทั้งหมดได้ที่ : www.bu.ac.th

3. มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

น้องๆ สามารถเข้าไปดูรายละเอียดค่าเทอมของแต่ละคณะ/สาขาวิชาทั้งหมดได้ที่ : www.admission.au.edu

4. มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ผู้จบ ม. 6/ปวช./กศน.

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ผู้จบ ปวส.

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

น้องๆ สามารถเข้าไปดูรายละเอียดค่าเทอมของแต่ละคณะ/สาขาวิชาทั้งหมดได้ที่ : www.spu.ac.th

5. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์


น้องๆ สามารถเข้าไปดูรายละเอียดค่าเทอมของแต่ละคณะ/สาขาวิชาทั้งหมดได้ที่ : www.dpu.ac.th

6. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย


น้องๆ สามารถเข้าไปดูรายละเอียดค่าเทอมของแต่ละคณะ/สาขาวิชาทั้งหมดได้ที่ : admission.utcc.ac.th

7. มหาวิทยาลัยพายัพ

มหาวิทยาลัยพายัพ

น้องๆ สามารถเข้าไปดูรายละเอียดค่าเทอมของแต่ละคณะ/สาขาวิชาทั้งหมดได้ที่ : pradmission.payap.ac.th

8. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

น้องๆ สามารถเข้าไปดูรายละเอียดค่าเทอมของแต่ละคณะ/สาขาวิชาทั้งหมดได้ที่ : admission.hcu.ac.th

9. มหาวิทยาลัยสยาม

มหาวิทยาลัยสยาม

น้องๆ สามารถเข้าไปดูรายละเอียดค่าเทอมของแต่ละคณะ/สาขาวิชาทั้งหมดได้ที่ : admission.siam.edu

6 สิ่งที่ต้องเตรียมก่อนสอบเข้ามหาวิทยาลัย

ในช่วงชีวิตการเรียนนั้นการสอบเข้ามหาวิทยาลัยน่าจะเป็นช่วงเวลาที่หนักที่สุด ทั้งในด้านความกดดัน และด้านคู่แข่งที่มากมาย หลายๆคนอาจมัวแต่เรียนพิเศษ เสียจนลืมเตรียมตัวด้านอื่นก่อนสอบมหาวิทยาลัยไปแล้ว วันนี้ Top-A tutor จึงมีบทความดีๆเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องเตรียมก่อนสอบเข้ามหาวิทยาลัยมาฝากน้องๆทุกๆคนกันครับ

1. ค้นหาตัวเองให้เจอ

     น้องๆจำนวนมาก แม้กระทั่งม.6 แล้วก็อาจจะยังไม่รู้ว่าอยากเป็นอะไร หรืออยากเข้าคณะอะไร มีหน้าที่เรียนไปเรื่อยๆ คณะก็เลือกตามเพื่อนๆเอา หรือเลือกตามที่พ่อแม่แนะนำให้เลือกเอา ซึ่งการเลือกเช่นนั้นเป็นวิธีการที่ผิดเป็นอย่างมาก เพราะถ้าหากว่าน้องๆเข้าไปเรียนแล้วไม่ชอบ ไม่ใช่ ก็อาจต้องเสียเวลา “ซิ่ว” มาเรียนคณะอื่น หรือต่อให้จบแล้วอาจจะต้องทนทำงานนั้นไปตลอดชีวิตก็คงจะไม่ดีแน่ๆ ดังนั้นน้องๆต้องค้นหาตัวเองให้เจอครับ ว่าเราชอบคณะอะไร ชอบทำอาชีพอะไร ซึ่งอาจทำได้โดยดูจากลักษณะนิสัยของตัวเอง ถามรุ่นพี่คณะต่างๆ หรือเข้าร่วมค่ายที่จัดโดยคณะต่างๆเพื่อค้นหาตัวเองให้เจอว่าคณะไหนนั้น “ใช่” สำหรับเรา

2. หาข้อมูลการสอบ

     วิธีการรับนักเรียนเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยนั้นก็มีหลากหลายทางไม่ว่าจะเป็น รับตรงของมหาวิทยาลัยเอง โควต้าชนิดต่าง หรือจะเป็นการรับผ่านระบบของการสอบกลาง ก็แล้วแต่ ดังนั้นน้องๆก็ควรจะหาข้อมูลให้พร้อมว่าคณะที่เราอยากเข้านั้นรับนักเรียนเข้าศึกษาต่อผ่านทางไหนบ้าง เพราะยิ่งเราทราบวิธีการรับนักเรียนมากวิธีเท่าไหร่โอกาสในการที่จะได้เข้าคณะนั้นๆก็ยิ่งสูงขึ้นไงครับ

3. ถามรุ่นพี่คณะนั้นๆให้ชัวร์

     การถามรุ่นพี่คณะนั้นๆไม่ใช่การถามถึงวันสอบ การยื่นคะแนน หรืออะไรแนวนั้นนะครับ แต่เป็นการถามถึงรูปแบบการเรียนในมหาวิทยาลัยของคณะนั้นๆ งานที่รองรับเมื่อจบแล้ว เพื่อที่น้องๆจะได้ทราบว่าการเข้าไปเรียนนั้นน้องๆจะเรียนได้รึป่าว เรียนไหวไหม หรือจบมาแล้วรูปแบบการทำงานลักษณะแบบนี้โอเคไหม เป็นต้น

4. เตรียมจัดตารางการอ่านหนังสือ

     การสอบเข้ามหาวิทยาลัยนั้นเราจะต้องแข่งขันกับนักเรียนทั้งประเทศ ดังนั้นย่อมไม่ใช่เรื่องง่ายอย่างแน่นอนใช่ไหมละครับ ดังนั้นน้องๆโดยเฉพาะอย่างยิ่งม.6 จะมามัวแต่เล่น เที่ยว หรือเกเร ไม่ได้แล้วนะครับ น้องๆจะต้องมีการจัดตารางการอ่านหนังสือให้พร้อม โดยควรจัดตารางการอ่านหนังสือตั้งแต่เนิ่นๆ อาจจะตั้งแต่เปิดเทอมม.6 และควรวางแผนให้อ่านจบทั้งหมดก่อนสอบประมาณ 1-2 เดือน ไม่ใช่จบในคืนก่อนสอบละครับ

5. ทำโจทย์นั้นสำคัญ

     นอกจากเนื้อหาที่เราควรอ่านให้จบก่อนสอบ 1-2 เดือนแล้ว การทำข้อสอบก็สำคัญไม่แพ้กัน โดยอาจทำโจทย์ไปพร้อมกับการอ่าน หรือทำในช่วง 1-2 เดือนที่เหลือจากการอ่านเนื้อหาก็ได้ แต่ต้องทำ!! เพราะการทำโจทย์นั้นจะทำเหมือนเป็นการลงสนามจริงหลังจากที่อ่านเนื้อหามาอย่างพร้อมแล้ว เพื่อที่จะประเมินว่าเรายังบกพร่องตรงจุดไหน หรือจริงๆแล้วที่เราอ่านมานั้นเราสามารถนำมาใช้ในการทำข้อสอบได้ดีแค่ไหน จะได้ปรับปรุงกันต่อไปไงครับ

6. ท้อได้ แต่อย่าถอย!

     ข้อนี้สำคัญมากนะครับ ในการเตรียมสอบเข้ามหาวิทยาลัยนั้นคงเป็นช่วงชีวิตในการเรียนที่หนักที่สุดของน้องๆแล้วละ เพราะต้องแข่งกับนักเรียนทั้งประเทศ หลายครั้งที่อ่านหนังสือน้องๆอาจจะท้อ ซึ่งถ้าหากท้อก็อยากให้หยุดอ่านสักพัก ไปทำกิจกรรมอื่นๆที่อยากทำ และกลับมาอ่านหนังสือต่อ อย่าเพิ่งถอยจนเลิกอ่านไปเลย เพราะระหว่างที่เรากำลังเล่น คนอื่นอาจจะกำลังอ่าน และระหว่างที่เรากำลังอ่าน คนอื่นอาจจะกำลังอ่านมากกว่าก็ได้นะ……ท้อได้ แต่อย่าถอย กันละ พี่ๆขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะครับ